อบรมการทํางานบนที่สูง

ป้ายและสัญลักษณ์เตือนอันตรายการทำงาน บนที่สูง

ป้ายและสัญลักษณ์เตือน อันตรายการทำงาน บนที่สูง

อันตรายจากการทำงาน บนที่สูง แบ่งออกเป็น 5 ประเภท ได้แก่ ลื่น สะดุด ตกจากบันได ตกจากที่สูง การตกกระทบจากวัสดุ จึงจำเป็นต้องมีป้ายเตือน หรือ Warning signs คนทั่วไปอย่างเรา ๆ อาจพบเห็นได้บ่อย ตามท้องถนน ไม่ว่าจะเป็น ป้ายเตือนจำกัดความเร็ว ป้ายระวังถนนลื่น และอีกมากมาย ติดไว้ เพื่อเตือนใจคนขับรถ ทั้งยังช่วยให้ตื่นตัว และระมัดระวังตัวอยู่เสมอ เช่นเดียวกัน กับโรงงานอุตสาหกรรม ที่พนักงานลูกจ้างต้องทำงานอยู่บนความเสี่ยง ทั้งไฟฟ้า เครื่องจักร สารเคมี การติดป้ายเตือนเอาไว้ในโรงงานจึงมีความจำเป็นไม่แพ้กัน 

การควบคุมเชิงบริหารจัดการ

การควบคุมเชิงบริหารจัดการ อาจใช้ร่วมกับ มาตรการควบคุมอื่นที่ทำอยู่ เช่น ใช้ร่วมกับ แพลตฟอร์มชั่วคราว เพื่อลดความเสี่ยงจากการตกจากที่สูง การควบคุมเชิงการบริหารจัดการ อาจจำเป็นต้องใช้เพื่อจำกัดเวลา ของผู้ปฏิบัติงานที่ตัองทำงาน บนที่สูง หรือจำกัดจำนวนผู้ปฏิบัติงาน ที่เกี่ยวข้องซึ่งครอบคลุมถึง
พื้นที่ควบคุม ระขบขออนุญาตปฏิบัติงาน การจัดระบบ และลำดับของงาน และชั้นตอนการปฏิบัติงานที่ปลอดภัย

อันตรายจากการตกจากที่สูง

แบ่งออกเป็น 5 ประเภท ได้แก่

  1. ลื่น
  2. สะดุด
  3. ตกจากบันได
  4. ตกจากที่สูง
  5. การตกกระทบจากวัสดุ

กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการทำงาน บนที่สูง

  • กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย แสะสภาพแวดล้อมในการทำงานเกี่ยวกับงานก่อสร้าง พ.ศ. 2551
  • ประกาศกรมสวัสติการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการ การใช้เชือก ลวดสลึง และรอก พ.ศ.2553
  • กฎกระทรวง กำหนดมาตรฐานในการบริหาร จัดการ และดำเนินการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน ในสถานที่ที่มีอันตรายจากการตกจากที่สูงและที่ลาดชัน จากวัสดุกระเด็นตกหล่น และพังทลาย และจากการตกลงไปในภาชนะเก็บหรือรองรับวัสดุ พ.ศ. 2564

มาตรฐานสากลที่เกี่ยวข้องกับการป้องกันและยับยั้งการตกจากที่สูง

  • มาตรฐานองค์การมาหรฐานสากล (International Standardization and Organization : ISO)
  • มาตรฐานสหภาพยุโรป (European Standards : EN)
  • มาตรฐานออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ (AS/NZS)
  • มาตรฐานสถาบันมาตรฐานแห่งชาติสหรัฐอเมริกา (American National Standards Institute :ANSI)
  • มาตรฐานอุตสาหกรรมญี่ปุ่น (Japanese Industrial Standards : JIS)
  • มาตรฐานของสถาบันความปลอดภัยและอนามัยไนการทำงานแห่งชาติสหรัฐอเมริกา (TheNational Institute for Occupational Safety and Health : NIOSH)
  • มาตรฐานของสำนักงานบริหารความปลอดภัยและอาชีวอนามัยแห่งชาติ สหรัฐอเมริกา (Occupational Safety and Health Administration : OSHA)
  • มาตรฐาน Workplace Safety and Health (WSH Council) ประเทศสิงคโปร์
  • มาตรฐานอื่น ที่เป็นที่ยอมรับ

สาเหตุที่ทำให้เกิดการตกจากที่สูง อันตรายจากการทำงาน บนที่สูง

  1. การจัดการความเสี่ยงที่ไม่มีประสิทธิภาพ
  2. มาตรการควบคุม ป้องกันอันตรายจาก การทำงานบนที่สูง ที่ไม่เพียงพอ และไม่เหมาะสม
  3. ข้อกำหนด และข้อบังคับในการทำงาน บนที่สูง ไม่เพียงพอและไม่เหมาะสม รวมทั้งขาดการควบคุม ดูแลให้ปฏิบัติตามอย่างมีประสิทธิภาพ
  4. การเลือกใช้เครื่องมือ วัสตุและอุปกรณ์ ในการทำงาน บนที่สูง ที่ไม่เหมาะสม และไม่ได้มาตรฐาน

ปัจจัยที่ก่อให้เกิดความเสี่ยงต่อการตกจากที่สูง

1) สภาพแวดล้อมในการทำงาน
– การปฏิบัติงานขณะฝนตก ลมแรง แสงแดคและอุณหภูมิร้อนจัด
– สภาพแวดล้อมในการทำงานไม่หมาะสม เช่น พื้นที่ที่มีไอระเหย ของสารเคมี ฟังกระจายน้ำ น้ำมัน ฝุ่นผง หรือตินโคลน
– การปฏิบัติงานบนที่ลาดชัน บนชอบอาคารหรือหลังศ บริเวณที่คับแคบ พื้นที่จำกัด หรือมีสิ่งกีดขวาง
– สภาพพื้นที่ที่มีอันตราย เช่น ไกล้สายไฟฟ้แรงสูง เป็นต้น
– การปฏิบัติงานบนโครงสร้างที่ไม่มั่นคงแข็งแรง
– สภาพพื้นที่ที่ไม่มีที่ยึด คล้อง เกาะเกี่ยว
– การปฏิบัติงานในสภาพการทำงานที่มีการเปลี่ยนแปลง ซึ่งอาจก่อให้เกิดความเสี่ยงของอันตรายใหม่


2) ผู้ปฏิบัติงานบนที่สูง
ไม่มีความรู้ ขาดการฝึกอบรม และประสบการณ์ในการทำงานบนที่สูง
มีปัญหาเกี่ยวกับสุขภาพ หรือสภาพร่างกายไม่พร้อมในการทำงานบนที่สูง
ไม่ปฏิบัติตามกฎระเบียบ ด้านความปลอดภัยในการทำงานบนที่สูง
ไม่มีผู้ควบคุม ตรวจสอบ และกำกับดูแลต้านความปลอดภัย
ไม่สวมใส่อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยจากการตกจากที่สูง


3) วัสดุและอุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยจากการตกจากที่สูง
ไม่มีเอกสารรับรองด้านความปลอดภัยจากผู้ผลิต
มีการออกแบบ และติดตั้งระบบป็องกันการตกจากที่สูงที่ไม่เหมาะสมกับพื้นที่ทำงาน และการใช้งาน
ใช้วัสดุ และอุปกรณ์ที่ชำรุดหรือเสื่อมสภาพ
ไม่มีระบบการตรวงสอบ และบำรุงรักษา

สัญลักษณ์ความปลอดภัย มีกี่ประเภท

ป้ายเตือนเพื่อความปลอดภัย ซึ่งสามารถแบ่งได้เป็น 4 ประเภท คือ

  1. ป้ายห้าม (Prohibition signs) คือ ห้ามทำ พฤติกรรมที่เป็นอันตราย เพื่อความปลอดภัย เช่น ห้ามสูบบุหรี่ ห้ามจุดไฟ ห้ามสวมรองเท้าแตะ เป็นต้น
  2. ป้ายเตือน (Warning signs) คือ เตือนให้ระมัดระวัง เตือนถึงเขต หรือพื้นที่อันตราย เช่น ป้ายระวังอันตราย ป้ายระวังพื้นลื่น ป้ายระวังวัตถุไวไฟ เป็นต้น
  3. ป้ายบังคับ (Mandatory signs) คือ บังคับให้ทำการกระทำที่เจาะจง บังคับ ให้สวมใส่ อุปกรณ์ป้องกัน เพื่อความปลอดภัย เช่น ป้ายสวมที่ครอบหู ป้ายสวมหมวกนิรภัย เป็นต้น
  4. ป้ายแสดงภาวะปลอดภัย (No danger signs) คือ ป้ายที่แสดงภาวะปลอดภัย หรือพื้นที่ที่ปลอดภัย เช่น ป้ายทางหนีไฟ ป้ายจุดปฐมพยาบาล เป็นต้น 

ป้ายฉุกเฉิน เกี่ยวกับการทำงาน บนที่สูง

การทำงาน บนที่สูง

ป้ายหยุด เกี่ยวกับการทำงาน บนที่สูง

การทำงาน บนที่สูง

ป้ายเตือนเกี่ยวกับการทำงาน บนที่สูง

การทำงาน บนที่สูง อย่างปลอดภัย

ป้ายให้ปฎิบัติเกี่ยวกับการทำงาน บนที่สูง

  • fall protection safety system
  • fall protection safety net
  • working with harness

ป้ายเกี่ยวกับการทำงาน บนที่สูง

การทำงาน บนที่สูง

Always work with harness

 

หากคุณกำลังมองหาสถาบัน อบรมการทำงานบนที่สูง

โทร 033-166-121 หรือ คลิกที่นี่!

ข้อตกลงและเงื่อนไข เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้เพื่อให้ท่านได้รับประสบการณ์ใช้งานที่ดียิ่งขึ้น

รับทราบ